วันอังคารที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

บทที่ 4


บทที่4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลและการอภิปรายผล


ศึกษากลิ่นของ ตะไคร้หอม(Cymbopogon citratus (DC.) Staph)เปลือกมะกรูด(Citrus x hystrix L.) (Curcuma longa Linnaeus)ต่อยุง ในรูปร่างลักษณะที่ใกล้เคียงกันจำนวน 20 ตัว โดยทำการเปรียบเทียบกลิ่นของ ตะไคร้หอม เปลือกมะกรูด เปลือกส้ม ใบเตย และขมิ้น โดยการตากแห้งแล้วนำไปนึ่งในเวลา 20 นาที ได้กลิ่นสมุนไพรจากพืช 5 ชนิด ดังนี้ ตะไคร้หอม 10 ห่อ เปลือกมะกรูด 10 ห่อ เปลือกส้ม 10 ห่อ ใบเตย 10 ห่อ และขมิ้น 10 ห่อ แล้วนำกลิ่นของสมุนไพรที่ได้ไปทดลองประสิทธิภาพ ที่มีต่ออัตราการตายในกลิ่นของสมุนไพรแต่ละชนิด จากการทดลองในทุก 30 นาที นำผลการทดลองจำนวนยุงทำเป็นตารางแสดงผลเพื่อหาความสัมพันธ์ ระหว่างความเข้มข้นของ ตะไคร้หอม เปลือกมะกรูด เปลือกส้ม ใบเตยและขมิ้นกับอัตราการตายของยุง


ตารางแสดงการตายของยุง




 
สถานที่(ห้อง)สมุนไพร
เวลา(นาที)
30
60
90120
ห้องที่1ตะไคร้หอม
8
13
18
20
ห้องที่2ขมิ้น
3
6
11
14
ห้องที่3เปลือกส้ม
5
7
10
12
ห้องที่4เปลือกมะกรูด
-
2
3
5
ห้องที่5ใบเตย
-
-
1
4
ห้องที่6สมุนไพร 5 ชนิดรวมกัน7   16 23 28
                








  จากการทดลองพบว่าจำนวนการตายของยุงในแต่ละ 30 นาที มีความแตกต่างกันในแต่ละชนิดและกลิ่นของสมุนไพร โดยกลิ่นของตะไคร้หอมใน 30 นาที มีประสิทธิภาพในการไล่ยุงดีที่สุด ยุงตายจำนวน 8ตัว รองลงมาคือขมิ้นที่เวลา 1 ชั่วโมงแรก ยุงตายจำนวน 6  ตัว และเปลือกส้มที่เวลา 30 นาที ยุงตาย 5ตัว และเปลือกมะกรูดใบเตยในเวลา 1ชั่วโมง มีประสิทธิภาพน้อยในการไล่ยุงและเมื่อนำสมุนไพร 5 ชนิดมารวมกันทดลองในเวลา 30 นาที มีประสิทธิภาพในการไล่ยุงมากที่สุด ในช่วงเวลา 30นาทีแรก ยุงตายจำนวน 28 ตัว

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น