วันอังคารที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

ผู้จัดทำโดย

ผู้จัดทำโดย

ชื่อ นาย ไกรวุฒิ  ปุณณสา เลขที่ 3 ม.6/3













นาย ธวัชชัย สุขสำราญ เลขที่ 2 ม.6/3










ชื่อ นาย ศุภเสก พลายมี เลขที่ 11 ม.6/3
















นาย สุรชัย ชะถา เลขที่ 5 ม.6/3















ชื่อ นาย พีระพงษ์  ยาสุวรรณ เลขที่ 14 ม.6/3


บทที่ 5


บทที่ 5 สรุป

บทสรุป1 สรุปผลการทดลอง1. การทดลองเปรียบเทียบกลิ่นของสมุนไพรที่มีผลต่อไล่ยุงภายใน 2 ชั่วโมง จากการนำ ตะไคร้หอม ขมิ้น เปลือกส้ม เปลือกมะกรูดและใบเตยมานึ่งในเวลา 20 นาทีสามารถทำให้กลิ่นของสมุนไพรทั้ง 5 ชนิดมีกลิ่นหอมมาก แล้วน าสมุนไพรที่นึ่งเสร็จแล้วไปผึงแดดในเวลา 1 นาที เพื่อที่จะได้ให้ไอน้ำละเหยออกซึ่งสมุนไพรจะไม่อับและมีกลิ่นหอมมีประสิทธิภาพในการไล่ยุงทำให้ยุงบินหรือตายได้ภายในเวลา 2 ชั่วโมง โดยเรานับช่วงเวลาเป็นช่วง 30 - 60 - 90 – 90 โดยเรานำสมุนไพรทุกชนิดมาใส่ในถุงหอมอย่างละ 1 กิโลกรัม พบว่ากลิ่นของสมุนไพร ตะไคร้หอม ขมิ้น เปลือกส้ม เปลือกมะกรูด และใบเตยมีประสิทธิภาพในการไล่ยุงได้มากที่สุดที่มีปริมาณ 1 กิโลกรัมเท่าๆกัน ในถุงหอมขนาด 8x8 นิ้ว 2. กลิ่นของสมุนไพรแต่ละชนิดมีประสิทธิภาพในการไล่ยุงได้ดีต่อยุง กลิ่นของตระไคร้หอมและขมิ้นมีประสิทธิภาพในการไล่ยุงดีที่สุด กลิ่นที่สามารถไล่ยุงได้ดีที่สุดคือตะไคร้หอมลองลงมาคือขมิ้น และเปลือกส้มรวมถึงสมุนไพรแต่ละชนิดมีสรรพคุณรักษาโรคได้อีก
2 การประยุกต์ผลการทดลอง การศึกษานี้นำไปประยุกต์ใช้ในทางปฏิบัติได้ เช่น มุมห้องภายในบ้าน หน้ารถ ในห้องน้ำ ห้องครัวและในตู้เสื้อผ้านำถุงหอมสมุนไพรแขวนไว้ ณ บริเวณนั้น ซึ่งจากการทดลองพบว่ากลิ่นของสมุนไพรทั้ง 5 ชนิด รวมกันอย่างละ1 กิโลกรัม มีประสิทธิภาพในการไล่ยุงที่ดีที่สุด ถ้ากลิ่นของสมุนไพรอ่อนกลิ่นลงเราก็สามารถนำไปนึ่งใหม่ได้อีก ทำให้ช่วยประหยัดด้วยซึ่งถือได้ว่ากลิ่นของสมุนไพรค่อนข้างมีผลดีต่อสิ่งแวดล้อมและยังเป็นพืชสมุนไพรที่ใช้ในการประกอบอาหาร จึงไม่เป็นอันตรายต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
3 ข้อเสนอแนะในการทดลอง1. ควรทำการศึกษาความเป็นพิษของ ตะไคร้หอม ขมิ้น เปลือกส้ม เปลือกมะกรูดและใบเตยที่มีต่อยุงโดยสามารถนำไปประยุกต์เป็นสารสกัดหรือสเปรย์ ที่สามารถใช้ได้สะดวกสบาย และเป็นการใช้ต้นทุนค่ำและนำไปใช้ในภาคสนามเพื่อประเมินค่าใช้จ่ายและทัศนคติการยอมรับของประชาชนเพื่อนำไปประเมินความคุ้มค่าในการนำไปใช้ในแผนงานโครงการแก้ปัญหาทางสาธารณสุขในการควบคุมจำนวนยุงและป้องกันโรคต่างๆที่เกิดจากยุง2. ตะไคร้หอม ขมิ้น เปลือกส้ม เปลือกมะกรูดและใบเตย เป็นพืชที่มีกลิ่นหอมเฉพาะ บางชนิดอาจมีกลิ่นแรง จึงทำให้ประชาชนบางคนไม่ชอบไม่อยากใช้ดังนั้นควรที่จะนำผลิตภัณฑ์ที่ได้จาก ตะไคร้หอม ขมิ้น เปลือกส้ม เปลือกมะกรูดและใบเตยไปไว้ ณ บริเวณนั้นที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก เพื่อจะได้กลิ่นสมุนไพรอ่อนและหอมสูดดมสดชื่นและยังไม่เป็นอันตรายต่อร่างกายหรือผู้ใช้


 

บทที่ 4


บทที่4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลและการอภิปรายผล


ศึกษากลิ่นของ ตะไคร้หอม(Cymbopogon citratus (DC.) Staph)เปลือกมะกรูด(Citrus x hystrix L.) (Curcuma longa Linnaeus)ต่อยุง ในรูปร่างลักษณะที่ใกล้เคียงกันจำนวน 20 ตัว โดยทำการเปรียบเทียบกลิ่นของ ตะไคร้หอม เปลือกมะกรูด เปลือกส้ม ใบเตย และขมิ้น โดยการตากแห้งแล้วนำไปนึ่งในเวลา 20 นาที ได้กลิ่นสมุนไพรจากพืช 5 ชนิด ดังนี้ ตะไคร้หอม 10 ห่อ เปลือกมะกรูด 10 ห่อ เปลือกส้ม 10 ห่อ ใบเตย 10 ห่อ และขมิ้น 10 ห่อ แล้วนำกลิ่นของสมุนไพรที่ได้ไปทดลองประสิทธิภาพ ที่มีต่ออัตราการตายในกลิ่นของสมุนไพรแต่ละชนิด จากการทดลองในทุก 30 นาที นำผลการทดลองจำนวนยุงทำเป็นตารางแสดงผลเพื่อหาความสัมพันธ์ ระหว่างความเข้มข้นของ ตะไคร้หอม เปลือกมะกรูด เปลือกส้ม ใบเตยและขมิ้นกับอัตราการตายของยุง


ตารางแสดงการตายของยุง




 
สถานที่(ห้อง)สมุนไพร
เวลา(นาที)
30
60
90120
ห้องที่1ตะไคร้หอม
8
13
18
20
ห้องที่2ขมิ้น
3
6
11
14
ห้องที่3เปลือกส้ม
5
7
10
12
ห้องที่4เปลือกมะกรูด
-
2
3
5
ห้องที่5ใบเตย
-
-
1
4
ห้องที่6สมุนไพร 5 ชนิดรวมกัน7   16 23 28
                








  จากการทดลองพบว่าจำนวนการตายของยุงในแต่ละ 30 นาที มีความแตกต่างกันในแต่ละชนิดและกลิ่นของสมุนไพร โดยกลิ่นของตะไคร้หอมใน 30 นาที มีประสิทธิภาพในการไล่ยุงดีที่สุด ยุงตายจำนวน 8ตัว รองลงมาคือขมิ้นที่เวลา 1 ชั่วโมงแรก ยุงตายจำนวน 6  ตัว และเปลือกส้มที่เวลา 30 นาที ยุงตาย 5ตัว และเปลือกมะกรูดใบเตยในเวลา 1ชั่วโมง มีประสิทธิภาพน้อยในการไล่ยุงและเมื่อนำสมุนไพร 5 ชนิดมารวมกันทดลองในเวลา 30 นาที มีประสิทธิภาพในการไล่ยุงมากที่สุด ในช่วงเวลา 30นาทีแรก ยุงตายจำนวน 28 ตัว

บทที่ 3


บทที่3
วัสดุและอุปกรณ์ที่ไว้ในการทดลอง
1.ยุง                                                                                                                 
2.เปลือกมะกรูด
2.เปลือกส้ม
3.ใบเตย
4.ตะไคร้
5.ขมิ้น
6.เขียง
7.มีด
8.ภาชนะสำหรับนึ่ง
9.กระด้ง
10.ผ้าขาวบาง


วิธีการทดลอง
1.การเก็บตัวอย่างสัตว์ทดลอง สำรวจแหล่งชุมชนบริเวณ หมู่บ้านโป่งชอยสมอทอง เพื่อหาดูบริเวณที่มีน้ำขังและยุงชุกชุม และหลังจากนั้นเก็บตัวอย่างใส่ในขวดเก็บตัวอย่าง แล้วนำลูกน้ำที่ได้ทั้งหมดมารวมกันเพาะเอาตัวยูงเพื่อให้ได้ขนาดเท่ากัน2.การเก็บตัวอย่างพืชสมุนไพร นำตะไคร้หอม เปลือกมะกรูด เปลือกส้ม ใบเตยและขมิ้น ล้างน้ำให้สะอาดแล้วน าสมุนไพรทั้ง ชนิดผึ่งให้แห้ง

ขั้นตอนการทำถุงหอมไล่ยุง-น าสมุนไพรทั้ง 5 ชนิด มาหั่นให้มีขนาดเล็กลง แล้วนำไปผึ่งแดด วัน -น าสมุนไพรแต่ละ ชนิดมานึ่งโดยใช้เวลา 30 นาที -นำสมุนแต่ละชนิดไปทดลองกับยุงโดยนำสมุนไพรในปริมาณช้อนโต๊ะห่อใส่ผ้าตาข่ายแล้วนำไปอุดไว้ที่ภาชนะเพาะยุง-เมื่อทราบผลการทดลองแล้วน าสมุนไพรมาผสมกันชนิดละ 1ช้อนโต๊ะ-บรรจุสมุนไพรที่ผสมกันแล้วใส่ถุงตาข่ายถุงละ 1ช้อนโต๊ะ และตกแต่งให้สวยงาม


บทที่ 2


บทที่2

วีธีการทดลอง  การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเปรียบเทียบเชิงทดลอง เพื่อศึกษากลิ่นของตะไคร้หอมเปลือกมะกรูด เตย และขมิ้นที่ที่สามารถไล่ยุงได้ซึ่งกลิ่นสมุนไพรแต่ละชนิด ที่ใชัในการทดลองได้จากการศึกษา หนังสือวรรณกรรมภูมิปัญญา และทดลองแล้วนำกลิ่นสมุนไพรแต่ละชนิดมาทดลองในบ้านที่มีลักษณะบริเวณที่ปลูกใกล้เคียงกัน

ขั้นตอนการศึกษา
 
ยุง
สถานที่
สมุนไพร
 เรานำลูกน้ำที่ยู่ตามที่ต่างๆมาเพาะเลี้ยงจนได้ตัวยุงรวมทั้งยุงในธรรมชาติก็คือเราจะเลือกบ้านที่ใช้ในการทดลองคือบริเวณชุมชนบ้านโป่งขอยโดยการเปิดหน้าต่างห้องนอนไว้เป็นเวลา 1 วัน
ให้ยุงเข้ามาอยู่ในห้อง
เราเลือกบ้านจำนวน 3 หลังที่อยู่ใกล้เคียงกันบริเวณหมู่บ้านโป่งขอยสมอทอง ซึ่งมีต้นไม้จำนวนมากนำสมุนไพรคือ ตะไคร้หอม ใบเตย เปลือกมะกรูด เปลือกส้ม และขมิ้น มาหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ นำไปตากแห้งในที่ร่มแล้วนำมานึ่งประมาณ 20 นาทีหลังจากนั้นนำไปผึ่งเพื่อไล่ความชื้นพอเสร็จแล้วนำบรรจุตาข่ายอย่างละ 10 ก้อนเพื่อทำการทดลองประสิทธิภาพโดยนำไปทิ้งไว้ในห้อง

 สถานที่ทำการทดลอง
หมู่บ้านโป่งขอยสมอทอง

บทที่ 1


บทที่ 1
สมุนไพนกันยุง ตะไคร้หอม
มาทำความรู้จักตะไคร้หอม หนึ่งในน้ำมันหอมระเหย ซึ่งใช ้กันยุง โดยเป็นอีกกลิ่นหนึ่งที่ได้รับความนิยม 
และสามารถใช้ได้ดีกับ โคมไฟ อโรมา
ชื่อวิทยาศาสตร์
 Cymbopogon nardus Rendle วงศ์ POACEAE (GRAMINEAE) 



ชื่อท้องถิ่น ตะไคร้หอม

ลักษณะพืช พืชล้มลุก อายุหลายปี มีเหง้า ลำต้นตั้งตรง สูง 2 เมตร ออกเป็นกอ ใบเกลี้ยง รูปยาวแคบ 
กว้าง 5-20 มม. 
ยาวได้ถึง 1 เมตร มีกลิ่นหอม ตรงรอยต่อระหว่างใบกับกาบ มีแผ่นรูปไข่ปลายตัดยื่นออกมา 
ยาวประมาณ 2 มม. มีขนกาบหุ้มติดทน กาบล่างสุดเกยซ้อนกัน เมื่อแห้งจะม้วนขึ้น 

ดอกออกเป็นช่อขนาดใหญ่ยาวได้ถึง 80 ซม. มีใบประดับ ลักษณะคล้ายกาบ ยาวประมาณ 25 มม. 
รองรับอยู่ ช่อดอกแยกเป็นหลายแขนง แต่ละแขนงมีช่อย่อย 4-5 ช่อ ผลแห้งไม่แตก 

ตะไคร้หอมมีลักษณะส่วนใหญ่คล้ายกับตะไคร้กอ ต่างกันที่กลิ่น ต้นและใบยาวกว่าตะไคร้กอมาก 
แผ่นใบกว้างยาวและนิ่มกว่าเล็กน้อย 

การปลูก ใช้หน่อหรือเหง้าชอบขึ้นในดินร่วนซุย น้ำไม่ขัง ชอบแดดมาก 
ส่วนที่ใช้เป็นยา ใบและกาบใบ 





สรรพคุณ
ยาไทย ต้นแก้ริดสีดวงในปาก (คือปากแตกระแหง เป็นแผลในปาก) สตรีมีครรภ์รับประทาน 
ทำให้แท้ง บีบรัดมดลูก ขับลมในลำใส้ แก้แน่น ตะไคร้หอมได้ถูกนำมาใช้ไล่แมลง 
อย่างแพร่หลายนานมาแล้ว โดยละลายน้ำมันตะไคร้หอม 7 ส่วน ผสมในแอลกอฮอล์
(70%) 93 ส่วน ฉีดพ่นหรือตำใบสดหมักในแอลกอฮอล์ใน อัตราส่วน 1:1 ทาตรงขอบประตู
ที่ปิดเปิดเสมอ หรือชุบสำลีแขวนเอาไว้หน้าประตูเข้าออก หรือใช้ใบตะไคร้หอม
มัดแล้วทุบให้ช้ำวางใว้ตามมุมห้องหรือใต้เตียง 

ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ ใบและกาบใบมีน้ำมันหอมระเหย ซึ่งมี Geraniol และ Citronellal 
เป็นส่วนประกอบสำคัญ มีฤทธิ์ในการไล่แมลง โดยเฉพาะ กันยุง จากการวิจัยพบว่า 
ทั้งต้นใช้กันยุงได้ ปัจจุบันจึงมีผู้สะกัด เอาสมุนไพรชนิดนี้มาทำเป็น โลชั่นกันยุง บ้าง 
น้ำมันหอมระเหย กลิ่นตะไคร้ ไล่ยุง ซึ่งได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก


วันพุธที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556


สมุนไพนกันยุง ตะไคร้หอม
มาทำความรู้จักตะไคร้หอม หนึ่งในน้ำมันหอมระเหย ซึ่งใช ้กันยุง โดยเป็นอีกกลิ่นหนึ่งที่ได้รับความนิยม 
และสามารถใช้ได้ดีกับ โคมไฟ อโรมา
ชื่อวิทยาศาสตร์
 Cymbopogon nardus Rendle วงศ์ POACEAE (GRAMINEAE) 



ชื่อท้องถิ่น ตะไคร้หอม

ลักษณะพืช พืชล้มลุก อายุหลายปี มีเหง้า ลำต้นตั้งตรง สูง 2 เมตร ออกเป็นกอ ใบเกลี้ยง รูปยาวแคบ 
กว้าง 5-20 มม. 
ยาวได้ถึง 1 เมตร มีกลิ่นหอม ตรงรอยต่อระหว่างใบกับกาบ มีแผ่นรูปไข่ปลายตัดยื่นออกมา 
ยาวประมาณ 2 มม. มีขนกาบหุ้มติดทน กาบล่างสุดเกยซ้อนกัน เมื่อแห้งจะม้วนขึ้น 

ดอกออกเป็นช่อขนาดใหญ่ยาวได้ถึง 80 ซม. มีใบประดับ ลักษณะคล้ายกาบ ยาวประมาณ 25 มม. 
รองรับอยู่ ช่อดอกแยกเป็นหลายแขนง แต่ละแขนงมีช่อย่อย 4-5 ช่อ ผลแห้งไม่แตก 

ตะไคร้หอมมีลักษณะส่วนใหญ่คล้ายกับตะไคร้กอ ต่างกันที่กลิ่น ต้นและใบยาวกว่าตะไคร้กอมาก 
แผ่นใบกว้างยาวและนิ่มกว่าเล็กน้อย 

การปลูก ใช้หน่อหรือเหง้าชอบขึ้นในดินร่วนซุย น้ำไม่ขัง ชอบแดดมาก 
ส่วนที่ใช้เป็นยา ใบและกาบใบ 





สรรพคุณ
ยาไทย ต้นแก้ริดสีดวงในปาก (คือปากแตกระแหง เป็นแผลในปาก) สตรีมีครรภ์รับประทาน 
ทำให้แท้ง บีบรัดมดลูก ขับลมในลำใส้ แก้แน่น ตะไคร้หอมได้ถูกนำมาใช้ไล่แมลง 
อย่างแพร่หลายนานมาแล้ว โดยละลายน้ำมันตะไคร้หอม 7 ส่วน ผสมในแอลกอฮอล์
(70%) 93 ส่วน ฉีดพ่นหรือตำใบสดหมักในแอลกอฮอล์ใน อัตราส่วน 1:1 ทาตรงขอบประตู
ที่ปิดเปิดเสมอ หรือชุบสำลีแขวนเอาไว้หน้าประตูเข้าออก หรือใช้ใบตะไคร้หอม
มัดแล้วทุบให้ช้ำวางใว้ตามมุมห้องหรือใต้เตียง 

ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ ใบและกาบใบมีน้ำมันหอมระเหย ซึ่งมี Geraniol และ Citronellal 
เป็นส่วนประกอบสำคัญ มีฤทธิ์ในการไล่แมลง โดยเฉพาะ กันยุง จากการวิจัยพบว่า 
ทั้งต้นใช้กันยุงได้ ปัจจุบันจึงมีผู้สะกัด เอาสมุนไพรชนิดนี้มาทำเป็น โลชั่นกันยุง บ้าง 
น้ำมันหอมระเหย กลิ่นตะไคร้ ไล่ยุง ซึ่งได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก







บทที่2

วีธีการทดลอง  การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเปรียบเทียบเชิงทดลอง เพื่อศึกษากลิ่นของตะไคร้หอมเปลือกมะกรูด เตย และขมิ้นที่ที่สามารถไล่ยุงได้ซึ่งกลิ่นสมุนไพรแต่ละชนิด ที่ใชัในการทดลองได้จากการศึกษา หนังสือวรรณกรรมภูมิปัญญา และทดลองแล้วนำกลิ่นสมุนไพรแต่ละชนิดมาทดลองในบ้านที่มีลักษณะบริเวณที่ปลูกใกล้เคียงกัน

ขั้นตอนการศึกษา
 
ยุง
สถานที่
สมุนไพร
 เรานำลูกน้ำที่ยู่ตามที่ต่างๆมาเพาะเลี้ยงจนได้ตัวยุงรวมทั้งยุงในธรรมชาติก็คือเราจะเลือกบ้านที่ใช้ในการทดลองคือบริเวณชุมชนบ้านโป่งขอยโดยการเปิดหน้าต่างห้องนอนไว้เป็นเวลา 1 วัน
ให้ยุงเข้ามาอยู่ในห้อง
เราเลือกบ้านจำนวน 3 หลังที่อยู่ใกล้เคียงกันบริเวณหมู่บ้านโป่งขอยสมอทอง ซึ่งมีต้นไม้จำนวนมากนำสมุนไพรคือ ตะไคร้หอม ใบเตย เปลือกมะกรูด เปลือกส้ม และขมิ้น มาหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ นำไปตากแห้งในที่ร่มแล้วนำมานึ่งประมาณ 20 นาทีหลังจากนั้นนำไปผึ่งเพื่อไล่ความชื้นพอเสร็จแล้วนำบรรจุตาข่ายอย่างละ 10 ก้อนเพื่อทำการทดลองประสิทธิภาพโดยนำไปทิ้งไว้ในห้อง

 สถานที่ทำการทดลอง
หมู่บ้านโป่งขอยสมอทอง

บทที่3
วัสดุและอุปกรณ์ที่ไว้ในการทดลอง
1.ยุง                                                                                                                 
2.เปลือกมะกรูด
2.เปลือกส้ม
3.ใบเตย
4.ตะไคร้
5.ขมิ้น
6.เขียง
7.มีด
8.ภาชนะสำหรับนึ่ง
9.กระด้ง
10.ผ้าขาวบาง


วิธีการทดลอง
1.การเก็บตัวอย่างสัตว์ทดลอง สำรวจแหล่งชุมชนบริเวณ หมู่บ้านโป่งชอยสมอทอง เพื่อหาดูบริเวณที่มีน้ำขังและยุงชุกชุม และหลังจากนั้นเก็บตัวอย่างใส่ในขวดเก็บตัวอย่าง แล้วนำลูกน้ำที่ได้ทั้งหมดมารวมกันเพาะเอาตัวยูงเพื่อให้ได้ขนาดเท่ากัน2.การเก็บตัวอย่างพืชสมุนไพร นำตะไคร้หอม เปลือกมะกรูด เปลือกส้ม ใบเตยและขมิ้น ล้างน้ำให้สะอาดแล้วน าสมุนไพรทั้ง ชนิดผึ่งให้แห้ง

ขั้นตอนการทำถุงหอมไล่ยุง-น าสมุนไพรทั้ง 5 ชนิด มาหั่นให้มีขนาดเล็กลง แล้วนำไปผึ่งแดด วัน -น าสมุนไพรแต่ละ ชนิดมานึ่งโดยใช้เวลา 30 นาที -นำสมุนแต่ละชนิดไปทดลองกับยุงโดยนำสมุนไพรในปริมาณช้อนโต๊ะห่อใส่ผ้าตาข่ายแล้วนำไปอุดไว้ที่ภาชนะเพาะยุง-เมื่อทราบผลการทดลองแล้วน าสมุนไพรมาผสมกันชนิดละ 1ช้อนโต๊ะ-บรรจุสมุนไพรที่ผสมกันแล้วใส่ถุงตาข่ายถุงละ 1ช้อนโต๊ะ และตกแต่งให้สวยงาม



 บทที่4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลและการอภิปรายผล


ศึกษากลิ่นของ ตะไคร้หอม(Cymbopogon citratus (DC.) Staph)เปลือกมะกรูด(Citrus x hystrix L.) (Curcuma longa Linnaeus)ต่อยุง ในรูปร่างลักษณะที่ใกล้เคียงกันจำนวน 20 ตัว โดยทำการเปรียบเทียบกลิ่นของ ตะไคร้หอม เปลือกมะกรูด เปลือกส้ม ใบเตย และขมิ้น โดยการตากแห้งแล้วนำไปนึ่งในเวลา 20 นาที ได้กลิ่นสมุนไพรจากพืช 5 ชนิด ดังนี้ ตะไคร้หอม 10 ห่อ เปลือกมะกรูด 10 ห่อ เปลือกส้ม 10 ห่อ ใบเตย 10 ห่อ และขมิ้น 10 ห่อ แล้วนำกลิ่นของสมุนไพรที่ได้ไปทดลองประสิทธิภาพ ที่มีต่ออัตราการตายในกลิ่นของสมุนไพรแต่ละชนิด จากการทดลองในทุก 30 นาที นำผลการทดลองจำนวนยุงทำเป็นตารางแสดงผลเพื่อหาความสัมพันธ์ ระหว่างความเข้มข้นของ ตะไคร้หอม เปลือกมะกรูด เปลือกส้ม ใบเตยและขมิ้นกับอัตราการตายของยุง


ตารางแสดงการตายของยุง




 
สถานที่(ห้อง)สมุนไพร
เวลา(นาที)
30
60
90120
ห้องที่1ตะไคร้หอม
8
13
18
20
ห้องที่2ขมิ้น
3
6
11
14
ห้องที่3เปลือกส้ม
5
7
10
12
ห้องที่4เปลือกมะกรูด
-
2
3
5
ห้องที่5ใบเตย
-
-
1
4
ห้องที่6สมุนไพร 5 ชนิดรวมกัน7   16 23 28
               








  จากการทดลองพบว่าจำนวนการตายของยุงในแต่ละ 30 นาที มีความแตกต่างกันในแต่ละชนิดและกลิ่นของสมุนไพร โดยกลิ่นของตะไคร้หอมใน 30 นาที มีประสิทธิภาพในการไล่ยุงดีที่สุด ยุงตายจำนวน 8ตัว รองลงมาคือขมิ้นที่เวลา 1 ชั่วโมงแรก ยุงตายจำนวน 6  ตัว และเปลือกส้มที่เวลา 30 นาที ยุงตาย 5ตัว และเปลือกมะกรูดใบเตยในเวลา 1ชั่วโมง มีประสิทธิภาพน้อยในการไล่ยุงและเมื่อนำสมุนไพร 5 ชนิดมารวมกันทดลองในเวลา 30 นาที มีประสิทธิภาพในการไล่ยุงมากที่สุด ในช่วงเวลา 30นาทีแรก ยุงตายจำนวน 28 ตัว

บทที่ 5 สรุป

บทสรุป1 สรุปผลการทดลอง1. การทดลองเปรียบเทียบกลิ่นของสมุนไพรที่มีผลต่อไล่ยุงภายใน 2 ชั่วโมง จากการนำ ตะไคร้หอม ขมิ้น เปลือกส้ม เปลือกมะกรูดและใบเตยมานึ่งในเวลา 20 นาทีสามารถทำให้กลิ่นของสมุนไพรทั้ง 5 ชนิดมีกลิ่นหอมมาก แล้วน าสมุนไพรที่นึ่งเสร็จแล้วไปผึงแดดในเวลา 1 นาที เพื่อที่จะได้ให้ไอน้ำละเหยออกซึ่งสมุนไพรจะไม่อับและมีกลิ่นหอมมีประสิทธิภาพในการไล่ยุงทำให้ยุงบินหรือตายได้ภายในเวลา 2 ชั่วโมง โดยเรานับช่วงเวลาเป็นช่วง 30 - 60 - 90 – 90 โดยเรานำสมุนไพรทุกชนิดมาใส่ในถุงหอมอย่างละ 1 กิโลกรัม พบว่ากลิ่นของสมุนไพร ตะไคร้หอม ขมิ้น เปลือกส้ม เปลือกมะกรูด และใบเตยมีประสิทธิภาพในการไล่ยุงได้มากที่สุดที่มีปริมาณ 1 กิโลกรัมเท่าๆกัน ในถุงหอมขนาด 8x8 นิ้ว 2. กลิ่นของสมุนไพรแต่ละชนิดมีประสิทธิภาพในการไล่ยุงได้ดีต่อยุง กลิ่นของตระไคร้หอมและขมิ้นมีประสิทธิภาพในการไล่ยุงดีที่สุด กลิ่นที่สามารถไล่ยุงได้ดีที่สุดคือตะไคร้หอมลองลงมาคือขมิ้น และเปลือกส้มรวมถึงสมุนไพรแต่ละชนิดมีสรรพคุณรักษาโรคได้อีก
2 การประยุกต์ผลการทดลอง การศึกษานี้นำไปประยุกต์ใช้ในทางปฏิบัติได้ เช่น มุมห้องภายในบ้าน หน้ารถ ในห้องน้ำ ห้องครัวและในตู้เสื้อผ้านำถุงหอมสมุนไพรแขวนไว้ ณ บริเวณนั้น ซึ่งจากการทดลองพบว่ากลิ่นของสมุนไพรทั้ง 5 ชนิด รวมกันอย่างละ1 กิโลกรัม มีประสิทธิภาพในการไล่ยุงที่ดีที่สุด ถ้ากลิ่นของสมุนไพรอ่อนกลิ่นลงเราก็สามารถนำไปนึ่งใหม่ได้อีก ทำให้ช่วยประหยัดด้วยซึ่งถือได้ว่ากลิ่นของสมุนไพรค่อนข้างมีผลดีต่อสิ่งแวดล้อมและยังเป็นพืชสมุนไพรที่ใช้ในการประกอบอาหาร จึงไม่เป็นอันตรายต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
3 ข้อเสนอแนะในการทดลอง1. ควรทำการศึกษาความเป็นพิษของ ตะไคร้หอม ขมิ้น เปลือกส้ม เปลือกมะกรูดและใบเตยที่มีต่อยุงโดยสามารถนำไปประยุกต์เป็นสารสกัดหรือสเปรย์ ที่สามารถใช้ได้สะดวกสบาย และเป็นการใช้ต้นทุนค่ำและนำไปใช้ในภาคสนามเพื่อประเมินค่าใช้จ่ายและทัศนคติการยอมรับของประชาชนเพื่อนำไปประเมินความคุ้มค่าในการนำไปใช้ในแผนงานโครงการแก้ปัญหาทางสาธารณสุขในการควบคุมจำนวนยุงและป้องกันโรคต่างๆที่เกิดจากยุง2. ตะไคร้หอม ขมิ้น เปลือกส้ม เปลือกมะกรูดและใบเตย เป็นพืชที่มีกลิ่นหอมเฉพาะ บางชนิดอาจมีกลิ่นแรง จึงทำให้ประชาชนบางคนไม่ชอบไม่อยากใช้ดังนั้นควรที่จะนำผลิตภัณฑ์ที่ได้จาก ตะไคร้หอม ขมิ้น เปลือกส้ม เปลือกมะกรูดและใบเตยไปไว้ ณ บริเวณนั้นที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก เพื่อจะได้กลิ่นสมุนไพรอ่อนและหอมสูดดมสดชื่นและยังไม่เป็นอันตรายต่อร่างกายหรือผู้ใช้